background
FURNITURE >> กลยุทธ์การตลาด อิเกีย
background
สารบัญ : ข้อมูลการตลาด อิเกีย
รายละเอียด  หน้า
 ข้อมูลพื้นฐานบริษัท
     – ประวัติองค์กร 1
     – กลยุทธ์ระดับองค์กร ปี 2553-2564
6
 Brand Analysis 17
     – SWOT
 วิเคราะห์ STP
19-21
     – Market Segmentation
     – Target Group
     – Product Positioning
ข้อมูลการตลาด  รายละเอียด จำนวนหน้า Updated ราคา
อิเกีย คลิ๊ก 21
30/12/64
500
background
  • บริษัท มาร์เก็ตอินโฟ แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
  • 4637 เจริญราษฎร์ บางโคล่ บางคอแหลม กรุงเทพฯ10120
  • Marketing Information Service
OUR CLIENTS

วิเคราะห์ กลยุทธ์การตลาด อิเกีย

วิเคราะห์ธุรกิจอิเกีย วิเคราะห์ตลาดอิเกีย วิเคราะห์อุตสาหกรรมอิเกีย วิเคราะห์อิเกีย วิเคราะห์swotอิเกีย วิเคราะห์stpอิเกีย วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคอิเกีย วิเคราะห์5forcesอิเกีย วิเคราะห์KSFอิเกีย วิเคราะห์PESTอิเกีย วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกอิเกีย วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดอิเกีย วิเคราะห์แผนธุรกิจตลาดอิเกีย วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดอิเกีย หนังสือข้อมูลการตลาดอิเกีย หนังสือกลยุทธ์การตลาดอิเกีย หนังสือวิเคราะห์การตลาดอิเกีย หนังสือวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดอิเกีย มูลค่าตลาดอิเกีย ส่วนแบ่งตลาดอิเกีย สถานการณ์การแข่งขันตลาดอิเกีย แนวโน้มตลาดอิเกีย วิเคราะห์KEYSUCCESSFACTORSอิเกีย บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมิวนิเคชั่นจำกัด มาร์เก็ตอินโฟ marketinfo โฆษณาอิเกียล่าสุด กรณีศึกษาตลาดอิเกีย กรณีศึกษาธุรกิจอิเกีย กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอิเกีย พฤติกรรมการบริโภคอิเกีย กลุ่มเป้าหมายอิเกีย กลุ่มลูกค้าเป้าหมายอิเกีย บริการวิเคราะห์ธุรกิจ บริการวิเคราะห์การตลาด รับวิเคราะห์ธุรกิจ รับวิเคราะห์การตลาด ขายบทวิเคราะห์ธุรกิจ ขายบทวิเคราะห์การตลาด การตลาดอิเกีย กลยุทธ์อิเกีย จุดเด่นของอิเกีย จุดอ่อนของอิเกีย 4Pอิเกีย ยอดขายอิเกีย

วิเคราะห์ธุรกิจอิเกีย วิเคราะห์ตลาดอิเกีย วิเคราะห์อุตสาหกรรมอิเกีย วิเคราะห์อิเกีย วิเคราะห์swotอิเกีย วิเคราะห์stpอิเกีย วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคอิเกีย วิเคราะห์5forcesอิเกีย วิเคราะห์KSFอิเกีย วิเคราะห์PESTอิเกีย วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกอิเกีย วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดอิเกีย วิเคราะห์แผนธุรกิจตลาดอิเกีย วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดอิเกีย โฆษณาอิเกียล่าสุด กรณีศึกษาตลาดอิเกีย กรณีศึกษาธุรกิจอิเกีย กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอิเกีย พฤติกรรมการบริโภคอิเกีย กลุ่มเป้าหมายอิเกีย กลุ่มลูกค้าเป้าหมายอิเกีย FiveForceModelอิเกีย

Place Model : IKEA

การเข้าสู่ตลาดเมืองไทยของร้านค้าปลีกเฟอร์นิเจอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ภายใต้แบรนด์อิเกีย (IKEA) อาจไม่ใช่สิ่งที่น่าตื่นเต้นเท่ากับการที่อิเกียได้นำเสนอโมเดลใหม่สำหรับการซื้อเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งแตกต่าง แปลกใหม่ มาสู่คนไทย เริ่มจากตัวสินค้าที่ส่วนใหญ่เป็นรูปแบบของเฟอร์นิเจอร์ DIY หรือ Do-It-Yourself  ที่ผู้ซื้อต้องประกอบเฟอร์นิเจอร์ขึ้นมาด้วยตัวเองตามคู่มือที่ให้มาพร้อมกันภายในกล่อง

แต่ที่น่าสนใจยิ่งกว่า คือ สไตล์หรือวิธีการซื้อเฟอร์นิเจอร์ของอิเกีย ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่สืบทอดมาหลายสิบปี โดยรูปแบบนี้ ผู้ซื้อควรเริ่มหาข้อมูลสินค้ามาก่อนจากคู่มือหลักในการซื้อสินค้า จาก เว็บไซต์  www.IKEA.co.th และแคตตาล็อก ซึ่งบทบาทที่เหมือนกันของคู่มือทั้งสองแบบ  คือ การให้รายละเอียดสินค้าไว้ครบถ้วน อาทิ  ชื่อรุ่น ขนาด สี  วัสดุ ราคา รวมถึงชื่อดีไซน์เนอร์ของสินค้าแต่ละชิ้น

ปฏิวัติรูปแบบการซื้อเฟอร์นิเจอร์

โดยในส่วนของแคตตาล็อกนั้น ถือเป็นเอกลักษณ์ของอิเกีย ซึ่งจะแจกปีละ 1 ครั้ง และไม่มีการพิมพ์เพิ่ม แต่สามารถดาวน์โหลดแค็ตตาล็อกทั้งเล่มได้ ทางเว็บไซต์ โดยแคตตาล็อกจะทำหน้าที่เป็นคู่มือการซื้อสินค้า และจะช่วยตอกย้ำความต้องการและยืนยันสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อจากอิเกีย พร้อมวิธีการซื้อสินค้า การขนส่ง ค่าบริการ ซึ่งต้องมีการอธิบายให้ผู้บริโภคเข้าใจ เพราะเป็นการซื้อรูปแบบใหม่

หน้าที่ต่อมาของแค็ตตาล็อกคือ การทำให้ผู้บริโภคสามารถวางแผนการซื้อสินค้าได้ล่วงหน้าว่าต้องการสินค้าชิ้นไหน จำนวนเท่าไหร่ เพื่อให้ตรงกับการออกแบบ และคำนวณราคาในการแต่งบ้านได้ทันที พร้อมๆ กับการสร้างอารมณ์ร่วมให้กับลูกค้า

สำหรับในประเทศไทยแค็ตตาล็อก จัดพิมพ์ทำครั้งแรกจำนวน 1 ล้านเล่ม ความหนา 376 หน้า โดยจะมีสินค้าทุกชิ้นที่วางจำหน่ายจำนวน 7,500 รายการบรรจุเอาไว้ในแค็ตตาล็อก จะเน้นแจกให้กับคนในพื้นที่12 กิโลเมตร รอบศูนย์บริการอิเกีย เนื่องจากเดินทางได้สะดวก ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายหลัก นอกจากนี้ยังจัดทำแค็ตตาล็อกฉบับย่อยจำนวน 12 หน้า อีก 1 ล้านเล่ม สำหรับแจกรอบนอกกรุงเทพฯ และปริมณฑล ทั้งสองส่วนนี่จะแจกออกไปภายในระยะเวลา 3 สัปดาห์ เพื่อส่งให้ถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของอิเกีย

ขณะที่เว็บไซต์ลูกค้าจะสามารถทำการเช็คสต๊อกสินค้าได้ด้วยตัวเอง ซึ่งทั้งหมดนี้ก็เพื่อให้ผู้ซื้อวางแผนล่วงหน้าในแง่การใช้งานที่ลงตัว  และได้รับเฟอร์นิเจอร์กลับบ้านในวันที่เดินทางไปซื้อยังศูนย์จำหน่ายบนถนนบางนา-ตราด กม.9

ส่วนการให้บริการของศูนย์จำหน่ายเฟอร์นิเจอร์อิเกีย จะต่างไปจากศูนย์จำหน่ายของแบรนด์อื่น ๆ ที่ผู้บริโภคคนไทยคุ้นเคยอย่างสิ้นเชิง เพราะภายในพื้นที่ขายขนาดมโหฬาร 43,000 ตารางเมตร ถูกแบ่งเป็น 2 ชั้น โดยผู้ซื้อเริ่มสตาร์ทกันที่ชั้นสอง ซึ่งบริเวณทางขึ้น จะเป็นเซลฟ์เสิร์ฟแอเรีย (Self Serve Area) ที่มีรถเข็น ใบเช็กลิสต์และดินสอ สำหรับการซื้อของชิ้นใหญ่ ส่วนของชิ้นเล็กจะมีถุงขนาดใหญ่ เตรียมไว้ให้ เพื่อเพิ่มความสะดวกการซื้อสินค้า เพราะสามารถหยิบไปชำระเงินที่ทางออกได้เลย

ซึ่งพื้นที่บริเวณชั้น 2 ถูกจัดเป็น Room Setting  หรือ ห้องตัวอย่างจำลองการตกแต่ง เพื่อสร้างไอเดียในการจัดบ้าน แบ่งออกเป็นห้องต่างๆ  ทั้งหมด 60 รูมเซตติ้ง ซึ่งจุดนี้ผู้ซื้อจะได้สัมผัสโดยตรงกันสินค้าที่ต้องการก่อนการตัดสินใจ โดยสินค้าแต่ละชิ้นจะปรากฏชื่อรุ่น รหัสสินค้า ราคา และหมายเลขช่องและล็อกที่เก็บสินค้า ซึ่งทางเดินเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกสโตร์ กล่าวคือเป็นวันเวย์เข้าออกทางเดียว ขณะที่ชั้นล่างจัดเป็นแวร์เฮาส์ หรือคลังสินค้า และมาร์เก็ตฮอลล์ วางจำหน่ายเครื่องไม้ใช้สอยและของตกแต่งชิ้นเล็กชิ้นน้อย จุดชำระค่าสินค้า

ส่วนจัดส่งสินค้า ปกติจะเป็นหน้าที่ของผู้ซื้อในการนำกล่องเฟอร์นิเจอร์กลับบ้าน แต่หากต้องการให้จัดส่งจะมีการให้บริการ โดยคิดค่าบริการแตกต่างกันตามพื้นที่ และจะส่งถึงมือลูกค้าภายใน 1 วัน นี่คือมาตรฐานของอิเกียทั่วโลก

สำหรับ Place Model ในแบบอิเกียนั้นเป็นการบริหารจัดการภายใต้แนวคิด  “You do your part. We do our part. Together we save money.”กล่าวคือ ทั้งผู้ขายและผู้ซื้อต่างฝ่ายต่างรับภาระของตน และร่วมกันแบ่งปันเพื่อลดต้นทุน ซึ่งเป็นที่มาของการบริหารจัดการที่ทำให้ อิเกีย สามารถจำหน่ายสินค้าราคาต่ำกว่าคู่แข่งหลักเฉลี่ย10-20% ขณะเดียวกันการพัฒนารูปแบบการขายที่แตกต่าง ทำให้อิเกียมีจุดแข็งเฉพาะตัว และยังเป็นการสะท้อนถึงตำแหน่งของสินค้า ที่ตอบสนองความต้องการของกลุ่มป้าหมายระดับกลางถึงล่าง ได้อย่างชัดเจน

ทว่า Place Model ของอิเกียคงจะต้องเผชิญกับความท้ายทายครั้งสำคัญ ซึ่งก็คือ “พฤติกรรมการซื้อสินค้า” ของคนไทยที่รักและเคยชินกับความสะดวก สบาย สำเร็จรูป พร้อมใช้ โดยพร้อมที่จะจ่ายเพิ่มเพื่อสิ่งนั้น อิเกียจะฝ่าอุปสรรคสำคัญนี้ หรือไม่ ต้องอาศัยเวลาเป็นเครื่องพิสูจน์ 

กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ

ข้อมูลด้านการตลาด (Marketing) จัดทำโดยผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีประสบการณ์ด้านข้อมูลการตลาด มากว่า 10 ปี กลยุทธ์การตลาด (Marketing Strategy) คือ กลวิธีหรือแบบแผนเพื่อช่วยให้สินค้าและบริการเป็นที่น่าสนใจในสายตาของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายและตอบสนองการใช้งานของลูกค้า

แผนการตลาด คือแผนปฏิบัติการของกลยุทธ์การตลาดในช่วงเวลาข้างหน้า (1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ปี) แผนการตลาดรวมถึง ภาพรวมเป้าหมายการตลาดและโฆษณา รายละเอียดและระยะเวลาของแผนการตลาด และตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (KPI) เป้าหมายของแผนการตลาดคือการสร้างทิศทางที่ชัดเจนให้กับธุรกิจ

Marketing Information & Strategy

แผนการตลาดที่ดีต้องสามารถปฏิบัติได้จริง ซึ่งก็หมายความว่าเราควรจะลงรายละเอียดวิธีการปฏิบัติ และทำการประเมินระยะเวลาที่จะเห็นผลด้วย ยกตัวอย่างเช่นแผนการตลาด Instagram ของคุณอาจจะรวมถึงการโพสต์รูปทุกวัน เป็นเวลา 3 เดือนเพื่อเพิ่มจำนวนคนติดตาม

พบกับเนื้อหาของการวางกลยุทธ์การตลาด ผ่านเครื่องมือ Marketing Mix 4Ps ของแบรนด์ชั้นนำในตลาด พร้อมด้วยเนื้อหาของสภาพแวดล้อมทางการตลาดพร้อมกับการมองทิศทางของโอกาสและอุปสรรค รวมตัวเลขของขนาดตลาด (Market size) ส่วนแบ่งตลาด (Market share) ส่วนประสมทางการตลาด / กลยุทธ์ทางการตลาด ( Market Mixed / 4p’s ) และแนวโน้ม ( Trend )

วิเคราะห์ กลยุทธ์การตลาด อิเกีย

กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ / Marketing Information & Strategy ,พบกับข้อมูลการตลาด (Marketing)  แผนธุรกิจ การวางกลยุทธ์การตลาด (Market Mixed / 4p’s) การแข่งขัน (Market Analysis) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ KEY SUCCESS FACTOR (KSF) โอกาส-อุปสรรค วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (PEST) มูลค่าตลาด (Market Size) ส่วนแบ่งการตลาด (Market Share)  กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ข้อมูลชุดนี้อยู่ในรูปแบบไฟล์ MS Word มีจำนวน 9 หน้า อัพเดทล่าสุด 30/12/2564 ราคา 350 บาท จัดส่งผ่านอีเมลล์ภายใน 60 นาที สนใจรายละเอียด/สั่งซื้อ คลิ๊ก https://wwwmktinfoonlinecom/indexphp/order-now/

ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ LINE ID : @marketinfo หรือคลิ๊กลิงก์ http://lineme/ti/p/@marketinfo

EBOOK แผนธุรกิจ คู่แข่งขัน วิจัย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อีบุ๊กธุรกิจการตลาด อีบุ๊คธุรกิจการตลาด วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก PEST โอกาสอุปสรรค 5forces KeySuccessFactors KSF ปัจจัยแห่งความสำเร็จ บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมูนิเคชั่นจำกัด