สารบัญ : กลยุทธ์การตลาด ไอศกรีมเนสท์เล่
|
|
รายละเอียด | หน้า |
ข้อมูลพื้นฐานบริษัท | |
– ประวัติองค์กร | 1 |
– กลยุทธ์ระดับองค์กร ปี2552-2564 |
2 |
Brand Analysis | 6 |
– SWOT | |
การวิเคราะห์ STP | 8-10 |
– Market Segmentation | |
– Target Group | |
– Product Positioning |
OUR CLIENTS
วิเคราะห์ กลยุทธ์การตลาด ไอศกรีมเนสท์เล่
ไอศกรีมยักษ์ใหญ่ทุกวันนี้ วอลล์ และ เนสท์เล่ ปลุกปั้นไอศกรีมจากของหวานมาสู่สแน็ก และกลายเป็นของกินเล่นอื่นๆ อีกมากมาย เพื่อสร้างโปรดักส์ให้มีโอกาสในการกินเพิ่มขึ้น ทำให้เมื่อเวลาเปิดตู้แช่ไอศกรีมในวันนี้จะเห็นว่า หลายค่ายเดินเกม Cross Category เพื่อขยายฐานลูกค้ากลุ่มใหม่นอกเหนือจากกลุ่มเด็กเล็ก เด็กโต วัยรุ่น แต่ความพยายามของไอศกรีม คือ การสร้างโปรดักส์เข้าไปเจาะกลุ่มลูกค้าวัยเริ่มทำงานหรือกระทั่งกลุ่มผู้ใหญ่เพิ่มขึ้น
บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด เปิดเผยว่า ปีนี้บริษัทจะบุกตลาดไอศกรีมรับประทานนอกบ้าน (Out of Home) อย่างเต็มที่ โดยตลอดปีนี้ได้ทุ่มงบการตลาด 20 ล้านบาท เพื่อเสริมความแข็งแกรงและขยายช่องทางการจัดจำหน่าย “ฟู้ด เซอร์วิส ไอศกรีม” ที่ปัจจุบันคิดเป็น 20% ของยอดขายรวมของเนสท์เล่ ไอศกรีม คิดเป็นจำนวนตู้ไอศกรีมแบบตักถึง 10,000 ตู้ ประกอบด้วยภัตตาคาร, ร้านอาหาร อยู่ที่ 50% ร้านไอศกรีมตกแต่ง 25% ร้านกาแฟและเบเกอรี่ 15% และโรงแรม 10% ขณะที่อีก 80% เป็นไอศกรีม Impulse ที่ซื้อรับประทานทันที ประกอบด้วยช่องทางจำหน่ายในรีเทลทั้งโมเดิร์นเทรด และโชห่วย, โรงเรียน, รถไอศกรีม ฯลฯ
นอกจากเป็นการสร้างรายได้ให้กับเนสท์เล่มากขึ้นผ่านช่องทางดังกล่าว ร้านที่เปิดร้านไอศกรีมยังเป็นการสร้างแบรนด์ให้กับเนสท์เล่ ไอศกรีม ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างเจาะลึกไปในทุกชุมชนที่เปิดให้บริการอีกด้วย
สร้างสรรค์รสชาติใหม่
นอกจากกินในรูปแบบไอศกรีมแล้ว ปัจจุบันค่ายไอศกรีมเริ่มสร้างสรรค์รสชาติใหม่ ด้วยการสร้างไอศกรีมให้เป็นของกินเล่น หรือเรียกว่า Dessert Style เช่น ไอศกรีมแซนวิช ไอศกรีมบิสกิต หรือกระทั่งไอศกรีมโมจิ ซึ่งล่าสุด วอลล์ โมจิ มิลค์กี้ แป้งโมจิเหนียวนุ่ม ขณะที่เนสท์เล่ เปิดตัวโมจิวนิลาไข่เค็ม แป้งนุ่มหนึบไข่แดง เพื่อขยายการกินใหม่ๆ
โจทย์ของไอศกรีมคือ การพยายามพัฒนาโปรดักส์ให้เข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีความแตกต่างกันสำหรับผู้ใหญ่แล้วความต้องการกินไอศกรีมเพื่อเติมเต็มความต้องการทางร่างกายและจิตใจและมองหาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและดีต่อสุขภาพด้วยในบางครั้ง ส่วนวัยรุ่นนั้น หากจะเลือกกินไอศกรีมสักแท่งส่วนใหญ่แล้วจะชื่นชอบผลิตภัณฑ์ใหม่หรือแนวคิดใหม่ๆ จึงจะสามารถดึงดูดหรือกระตุ้นให้เกิดการตัดสินใจซื้อได้มาที่กลุ่มเด็กเพราะไอศกรีมเป็นแม่เหล็กที่ดึงดูดเด็กได้ดีอยู่แล้วการซื้อไอศกรีมขึ้นอยู่ที่ความชอบเป็นหลัก
การจับจ่ายบนช่องทางออนไลน์เป็นอีกหนึ่งพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้การคาดการณ์อัตราการเติบโตของอีคอมเมิร์ซในไทยอยู่ที่ 30% แต่เมื่อเข้าสู่ช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ผู้บริโภคหันมาช้อปของใช้ในบ้านและสั่งอาหารออนไลน์มากขึ้น อีคอมเมิร์ซจึงเติบโตเพิ่มขึ้นมากกว่าที่คาดไว้ ส่งผลให้ในปี 2563 ยอดขายออนไลน์ของเนสท์เล่โตกว่าเป้าที่ตั้งไว้ถึง 2 เท่า
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคนิยมรับประทานอาหารนอกบ้านมากขึ้น รวมถึงไอศกรีม ที่นิยมรับประทานสังสรรค์กับเพื่อน เห็นได้ชัดว่าปัจจุบันมีการเปิดร้านไอศกรีมเพิ่มมากขึ้น รวมถึงผู้เล่นหน้าใหม่ๆ ที่เข้าสู่ตลาด และจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาทำให้ผู้บริโภคจำนวนมากหันมาเปิดธุรกิจส่วนตัวมากขึ้น
ไอศกรีมถือเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่งที่มี LIFE CYCLE ที่เปลี่ยนเร็วต้องมีความหลากหลายและผู้ประกอบการต้องสร้างความแปลกใหม่ให้กับตลาดอยู่เสมอเพราะการขับเคลื่อนด้วยรสชาติเพียงอย่างเดียวทั้งรส วนิลา ช็อกโกแลต ที่เป็นรสชาติที่เป็นซิกเนเจอร์ของไอศกรีมไม่ตอบโจทย์อยู่แล้วดังนั้นความถี่ในการเปิดตัวสินค้าใหม่จึงค่อนข้างเร็วเมื่อเทียบกับของกินชนิดอื่นๆ โดยในตู้ไอศกรีมจะมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เข้ามาอยู่เสมอ
วิเคราะห์ธุรกิจไอศกรีมแมส วิเคราะห์ตลาดไอศกรีมแมส วิเคราะห์อุตสาหกรรมไอศกรีมแมส วิเคราะห์ไอศกรีมแมส วิเคราะห์swotไอศกรีมแมส วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคไอศกรีมแมส วิเคราะห์stpไอศกรีมแมส วิเคราะห์5forcesไอศกรีมแมส วิเคราะห์KSFไอศกรีมแมส วิเคราะห์PESTไอศกรีมแมส วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกไอศกรีมแมส วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดไอศกรีมแมส วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดไอศกรีมแมส หนังสือข้อมูลการตลาดไอศกรีมแมส หนังสือกลยุทธ์การตลาดไอศกรีมแมส หนังสือวิเคราะห์การตลาดไอศกรีมแมส หนังสือวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดไอศกรีมแมส วิเคราะห์แผนธุรกิจตลาดไอศกรีมแมส มูลค่าตลาดไอศกรีมแมส ส่วนแบ่งตลาดไอศกรีมแมส สถานการณ์การแข่งขันตลาดไอศกรีมแมส แนวโน้มตลาดไอศกรีมแมส วิเคราะห์KEYSUCCESSFACTORSไอศกรีมแมส วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดไอศกรีมแมส บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมิวนิเคชั่นจำกัด โฆษณาไอศกรีมแมสล่าสุด กรณีศึกษาตลาดไอศกรีมแมส กรณีศึกษาธุรกิจไอศกรีมแมส กรณีศึกษาอุตสาหกรรมไอศกรีมแมส
วิเคราะห์ธุรกิจไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์ตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์อุตสาหกรรมไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์ไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์swotไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์stpไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์5forcesไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์KSFไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์PESTไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ หนังสือข้อมูลการตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ หนังสือกลยุทธ์การตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ หนังสือวิเคราะห์การตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ หนังสือวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์แผนธุรกิจตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ มูลค่าตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ ส่วนแบ่งตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ สถานการณ์การแข่งขันตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ แนวโน้มตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์KEYSUCCESSFACTORSไอศกรีมเนสท์เล่ วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมิวนิเคชั่นจำกัด โฆษณาไอศกรีมเนสท์เล่ล่าสุด กรณีศึกษาตลาดไอศกรีมเนสท์เล่ กรณีศึกษาธุรกิจไอศกรีมเนสท์เล่ กรณีศึกษาอุตสาหกรรมไอศกรีมเนสท์เล่
ไอศกรีมยักษ์ใหญ่ทุกวันนี้ วอลล์ และ เนสท์เล่ ปลุกปั้นไอศกรีมจากของหวานมาสู่สแน็ก และกลายเป็นของกินเล่นอื่นๆ อีกมากมาย เพื่อสร้างโปรดักส์ให้มีโอกาสในการกินเพิ่มขึ้น ทำให้เมื่อเวลาเปิดตู้แช่ไอศกรีมในวันนี้จะเห็นว่า หลายค่ายเดินเกม Cross Category เพื่อขยายฐานลูกค้ากลุ่มใหม่นอกเหนือจากกลุ่มเด็กเล็ก เด็กโต วัยรุ่น แต่ความพยายามของไอศกรีม คือ การสร้างโปรดักส์เข้าไปเจาะกลุ่มลูกค้าวัยเริ่มทำงานหรือกระทั่งกลุ่มผู้ใหญ่เพิ่มขึ้น
บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด เปิดเผยว่า ปีนี้บริษัทจะบุกตลาดไอศกรีมรับประทานนอกบ้าน (Out of Home) อย่างเต็มที่ โดยตลอดปีนี้ได้ทุ่มงบการตลาด 20 ล้านบาท เพื่อเสริมความแข็งแกรงและขยายช่องทางการจัดจำหน่าย “ฟู้ด เซอร์วิส ไอศกรีม” ที่ปัจจุบันคิดเป็น 20% ของยอดขายรวมของเนสท์เล่ ไอศกรีม คิดเป็นจำนวนตู้ไอศกรีมแบบตักถึง 10,000 ตู้ ประกอบด้วยภัตตาคาร, ร้านอาหาร อยู่ที่ 50% ร้านไอศกรีมตกแต่ง 25% ร้านกาแฟและเบเกอรี่ 15% และโรงแรม 10% ขณะที่อีก 80% เป็นไอศกรีม Impulse ที่ซื้อรับประทานทันที ประกอบด้วยช่องทางจำหน่ายในรีเทลทั้งโมเดิร์นเทรด และโชห่วย, โรงเรียน, รถไอศกรีม ฯลฯ
นอกจากเป็นการสร้างรายได้ให้กับเนสท์เล่มากขึ้นผ่านช่องทางดังกล่าว ร้านที่เปิดร้านไอศกรีมยังเป็นการสร้างแบรนด์ให้กับเนสท์เล่ ไอศกรีม ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างเจาะลึกไปในทุกชุมชนที่เปิดให้บริการอีกด้วย
นอกจากกินในรูปแบบไอศกรีมแล้ว ปัจจุบันค่ายไอศกรีมเริ่มสร้างสรรค์รสชาติใหม่ ด้วยการสร้างไอศกรีมให้เป็นของกินเล่น หรือเรียกว่า Dessert Style เช่น ไอศกรีมแซนวิช ไอศกรีมบิสกิต หรือกระทั่งไอศกรีมโมจิ ซึ่งล่าสุด วอลล์ โมจิ มิลค์กี้ แป้งโมจิเหนียวนุ่ม ขณะที่เนสท์เล่ เปิดตัวโมจิวนิลาไข่เค็ม แป้งนุ่มหนึบไข่แดง เพื่อขยายการกินใหม่ๆ
โจทย์ของไอศกรีมคือ การพยายามพัฒนาโปรดักส์ให้เข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมายซึ่งมีความแตกต่างกันสำหรับผู้ใหญ่แล้วความต้องการกินไอศกรีมเพื่อเติมเต็มความต้องการทางร่างกายและจิตใจและมองหาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและดีต่อสุขภาพด้วยในบางครั้ง ส่วนวัยรุ่นนั้น หากจะเลือกกินไอศกรีมสักแท่งส่วนใหญ่แล้วจะชื่นชอบผลิตภัณฑ์ใหม่หรือแนวคิดใหม่ๆ จึงจะสามารถดึงดูดหรือกระตุ้นให้เกิดการตัดสินใจซื้อได้มาที่กลุ่มเด็กเพราะไอศกรีมเป็นแม่เหล็กที่ดึงดูดเด็กได้ดีอยู่แล้วการซื้อไอศกรีมขึ้นอยู่ที่ความชอบเป็นหลัก
การจับจ่ายบนช่องทางออนไลน์เป็นอีกหนึ่งพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้การคาดการณ์อัตราการเติบโตของอีคอมเมิร์ซในไทยอยู่ที่ 30% แต่เมื่อเข้าสู่ช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ผู้บริโภคหันมาช้อปของใช้ในบ้านและสั่งอาหารออนไลน์มากขึ้น อีคอมเมิร์ซจึงเติบโตเพิ่มขึ้นมากกว่าที่คาดไว้ ส่งผลให้ในปี 2563 ยอดขายออนไลน์ของเนสท์เล่โตกว่าเป้าที่ตั้งไว้ถึง 2 เท่า
พฤติกรรมผู้บริโภคนิยมรับประทานอาหารนอกบ้านมากขึ้น รวมถึงไอศกรีม ที่นิยมรับประทานสังสรรค์กับเพื่อน เห็นได้ชัดว่าปัจจุบันมีการเปิดร้านไอศกรีมเพิ่มมากขึ้น รวมถึงผู้เล่นหน้าใหม่ๆ ที่เข้าสู่ตลาด และจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาทำให้ผู้บริโภคจำนวนมากหันมาเปิดธุรกิจส่วนตัวมากขึ้น
ไอศกรีม ถือเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่งที่มี LIFE CYCLE ที่เปลี่ยนเร็วต้องมีความหลากหลายและผู้ประกอบการต้องสร้างความแปลกใหม่ให้กับตลาดอยู่เสมอเพราะการขับเคลื่อนด้วยรสชาติเพียงอย่างเดียวทั้งรส วนิลา ช็อกโกแลต ที่เป็นรสชาติที่เป็นซิกเนเจอร์ของไอศกรีมไม่ตอบโจทย์อยู่แล้วดังนั้นความถี่ในการเปิดตัวสินค้าใหม่จึงค่อนข้างเร็วเมื่อเทียบกับของกินชนิดอื่นๆ โดยในตู้ไอศกรีมจะมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เข้ามาอยู่เสมอ
กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ
ข้อมูลด้านการตลาด (Marketing) จัดทำโดยผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีประสบการณ์ด้านข้อมูลการตลาด มากว่า 10 ปี กลยุทธ์การตลาด (Marketing Strategy) คือ กลวิธีหรือแบบแผนเพื่อช่วยให้สินค้าและบริการเป็นที่น่าสนใจในสายตาของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายและตอบสนองการใช้งานของลูกค้า
แผนการตลาด คือแผนปฏิบัติการของกลยุทธ์การตลาดในช่วงเวลาข้างหน้า (1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ปี) แผนการตลาดรวมถึง ภาพรวมเป้าหมายการตลาดและโฆษณา รายละเอียดและระยะเวลาของแผนการตลาด และตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (KPI) เป้าหมายของแผนการตลาดคือการสร้างทิศทางที่ชัดเจนให้กับธุรกิจ
Marketing Information & Strategy
แผนการตลาดที่ดีต้องสามารถปฏิบัติได้จริง ซึ่งก็หมายความว่าเราควรจะลงรายละเอียดวิธีการปฏิบัติ และทำการประเมินระยะเวลาที่จะเห็นผลด้วย ยกตัวอย่างเช่นแผนการตลาด Instagram ของคุณอาจจะรวมถึงการโพสต์รูปทุกวัน เป็นเวลา 3 เดือนเพื่อเพิ่มจำนวนคนติดตาม
พบกับเนื้อหาของการวางกลยุทธ์การตลาด ผ่านเครื่องมือ Marketing Mix 4Ps ของแบรนด์ชั้นนำในตลาด พร้อมด้วยเนื้อหาของสภาพแวดล้อมทางการตลาดพร้อมกับการมองทิศทางของโอกาสและอุปสรรค รวมตัวเลขของขนาดตลาด (Market size) ส่วนแบ่งตลาด (Market share) ส่วนประสมทางการตลาด / กลยุทธ์ทางการตลาด ( Market Mixed / 4p’s ) และแนวโน้ม ( Trend )
วิเคราะห์ กลยุทธ์การตลาด ไอศกรีมเนสท์เล่
กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ / Marketing Information & Strategy ,พบกับข้อมูลการตลาด (Marketing) แผนธุรกิจ การวางกลยุทธ์การตลาด (Market Mixed / 4p’s) การแข่งขัน (Market Analysis) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ KEY SUCCESS FACTOR (KSF) โอกาส-อุปสรรค วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (PEST) มูลค่าตลาด (Market Size) ส่วนแบ่งการตลาด (Market Share) กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
ข้อมูลชุดนี้อยู่ในรูปแบบไฟล์ MS Word มีจำนวน 9 หน้า อัพเดทล่าสุด 30/12/2564 ราคา 350 บาท จัดส่งผ่านอีเมลล์ภายใน 60 นาที สนใจรายละเอียด/สั่งซื้อ คลิ๊ก https://wwwmktinfoonlinecom/indexphp/order-now/
ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ LINE ID : @marketinfo หรือคลิ๊กลิงก์ http://lineme/ti/p/@marketinfo
EBOOK แผนธุรกิจ คู่แข่งขัน วิจัย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อีบุ๊กธุรกิจการตลาด อีบุ๊คธุรกิจการตลาด วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก PEST โอกาสอุปสรรค 5forces KeySuccessFactors KSF ปัจจัยแห่งความสำเร็จ บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมูนิเคชั่นจำกัด