background
SUKI-SHABU >> กลยุทธ์การตลาด ร้านสุกี้ ร้านชาบู
background
สารบัญ : ข้อมูลการตลาดร้านสุกี้-ชาบู (ตลาดรวม)
รายละเอียด  หน้า
 สถานการณ์การแข่งขัน  1
 Market Summary  2
     – โอกาส / อุปสรรค
กลยุทธ์ระดับองค์กร
     เอ็มเค สุกี้  3
     ฮอทพอท 4
     ชาบูชิ 6
     นีโอสุกี้ 7
 มูลค่าตลาด ปี 2554-2559 8
 ส่วนแบ่งตลาด ปี 2554-2559 8
 ส่วนประสมทางการตลาด
     ผลิตภัณฑ์ 9
     ราคา   12
     ช่องทางจัดจำหน่าย  14
     การส่งเสริมการตลาด  16
 แนวโน้ม 41
ข้อมูลการตลาด  รายละเอียด จำนวนหน้า Updated ราคา
 ร้านสุกี้-ชาบู  คลิ๊ก 41 16/09/59
600
background
  • บริษัท มาร์เก็ตอินโฟ แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด
  • 4637 เจริญราษฎร์ บางโคล่ บางคอแหลม กรุงเทพฯ10120
  • Marketing Information Service
OUR CLIENTS

วิเคราะห์ กลยุทธ์การตลาด ร้านสุกี้ ร้านชาบู

วิเคราะห์ธุรกิจร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์ตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์อุตสาหกรรมร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์ร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์swotร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์stpร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์5forcesร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์KSFร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์PESTร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์แผนธุรกิจตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู หนังสือข้อมูลการตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู หนังสือกลยุทธ์การตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู หนังสือวิเคราะห์การตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู หนังสือวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู มูลค่าตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู ส่วนแบ่งตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู สถานการณ์การแข่งขันตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู แนวโน้มตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู วิเคราะห์KEYSUCCESSFACTORSร้านสุกี้ร้านชาบู บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมิวนิเคชั่นจำกัด มาร์เก็ตอินโฟ marketinfo โฆษณาร้านสุกี้ร้านชาบูล่าสุด กรณีศึกษาตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู กรณีศึกษาธุรกิจร้านสุกี้ร้านชาบู กรณีศึกษาอุตสาหกรรมร้านสุกี้ร้านชาบู พฤติกรรมการบริโภคร้านสุกี้ร้านชาบู กลุ่มเป้าหมายร้านสุกี้ร้านชาบู กลุ่มลูกค้าเป้าหมายร้านสุกี้ร้านชาบู บริการวิเคราะห์ธุรกิจ บริการวิเคราะห์การตลาด รับวิเคราะห์ธุรกิจ รับวิเคราะห์การตลาด ขายบทวิเคราะห์ธุรกิจ ขายบทวิเคราะห์การตลาด การตลาดร้านสุกี้ร้านชาบู กลยุทธ์ร้านสุกี้ร้านชาบู จุดเด่นของร้านสุกี้ร้านชาบู

วิเคราะห์ธุรกิจสุกี้ชาบู วิเคราะห์ตลาดสุกี้ชาบู วิเคราะห์อุตสาหกรรมสุกี้ชาบู วิเคราะห์สุกี้ชาบู วิเคราะห์swotสุกี้ชาบู วิเคราะห์stpสุกี้ชาบู วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคสุกี้ชาบู วิเคราะห์5forcesสุกี้ชาบู วิเคราะห์KSFสุกี้ชาบู วิเคราะห์PESTสุกี้ชาบู วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกสุกี้ชาบู วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดสุกี้ชาบู วิเคราะห์แผนธุรกิจตลาดสุกี้ชาบู วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดสุกี้ชาบู หนังสือข้อมูลการตลาดสุกี้ชาบู หนังสือกลยุทธ์การตลาดสุกี้ชาบู หนังสือวิเคราะห์การตลาดสุกี้ชาบู หนังสือวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดสุกี้ชาบู มูลค่าตลาดสุกี้ชาบู ส่วนแบ่งตลาดสุกี้ชาบู สถานการณ์การแข่งขันตลาดสุกี้ชาบู แนวโน้มตลาดสุกี้ชาบู วิเคราะห์KEYSUCCESSFACTORSสุกี้ชาบู บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมิวนิเคชั่นจำกัด มาร์เก็ตอินโฟ marketinfo โฆษณาสุกี้ชาบูล่าสุด กรณีศึกษาตลาดสุกี้ชาบู กรณีศึกษาธุรกิจสุกี้ชาบู กรณีศึกษาอุตสาหกรรมสุกี้ชาบู พฤติกรรมการบริโภคสุกี้ชาบู กลุ่มเป้าหมายสุกี้ชาบู กลุ่มลูกค้าเป้าหมายสุกี้ชาบู บริการวิเคราะห์ธุรกิจ บริการวิเคราะห์การตลาด รับวิเคราะห์ธุรกิจ รับวิเคราะห์การตลาด ขายบทวิเคราะห์ธุรกิจ ขายบทวิเคราะห์การตลาด การตลาดสุกี้ชาบู กลยุทธ์สุกี้ชาบู จุดเด่นของสุกี้ชาบู

ตลาดสุกี้หม้อเดือดๆ

ตลาดสุกี้หม้อต้มในไทยมูลค่า 15,000-20,000 ล้านบาท เติบโตมาต่อเนื่อง และแข่งกันไม่น้อย เพราะในวันนี้เราเห็นอาหารประเภทสุกี้ หม้อต้ม เกิดขึ้นใหม่มากมาย ขณะเดียวกันแบรนด์เดิมก็ขยายสาขาเพิ่มเพื่อจับกลุ่มผู้บริโภคมากขึ้น แบรนด์ที่เป็นผู้นำในตลาสุกี้แบบทิ้งห่างคู่แข่งไปไกลคือ MK ทั้งในแง่สาขาและรายได้ MK มีสาขาทั้งหมดกว่า 450 สาขา ทำรายได้ให้กับเครือมากถึง 74%

แม้จะดูเหมือนว่าภาพจำของสุกี้คือเอ็มเค แต่เอาเข้าจริงใน ตลาดสุกี้ 64 ของไทยยังมีแบรนด์อื่น ๆ อีกไม่ว่าจะเป็นสุกี้โคคา ที่อยู่ในตลาดมานานกว่า 60 ปี ตอนนี้อยู่ในการบริหารของทายาทรุ่นที่สามอย่าง นัฐธารี พันธุ์เพ็ญโสภณ ที่เพิ่งมีข่าวสะเทือนวงการกับการปิดสาขาที่สยามสแควร์ที่ให้บริการมากว่า 54 ปี และเตรียมโมเดลไซส์เล็กลง และขยายสาขานอกเมืองมากขึ้น

นีโอ สุกี้ อีกแบรนด์รองที่เปิดมากว่า 20 ปี มีทีเด็ดที่น้ำจิ้มที่มีให้เลือกถึง 7 รสชาติ ที่เป็นจุดขายต่างจากเจ้าอื่นๆยังมีคู่เป็นร้านสุกี้ Stand Alone ที่มีชื่อเสียงมานาน อย่างเช่น เอี่ยวไถ่ สุกี้โบราณ สุกี้ เรือนเพชร เท็กซัส สุกี้ ที่เริ่มขยายสาขามาในห้างสรรพสินค้า ชูจุดเด่นขายความโบราณเพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้รับประทานสุกี้รุ่นใหม่อีกทั้งยังมีร้านสุกี้ชาบูที่เป็นแบบบุฟเฟ่ต์เกิดขึ้นใหม่มากมาย ที่เราคุ้นกันทั้งชาบูนางใน สุกี้ตี๋น้อย ชาบูอินดี้ ฯลฯ

สุกี้แข่งกันที่อะไร

แล้วในตลาดที่แข่งกันดุเดือดของหม้อสุกี้นี้แข่งกันที่อะไร สาขาและทำเล แน่นอนว่ายิ่งมีสาขาเยอะ และอยู่ในทำเลที่เดินทางสะดวกเป็นอีกปัจจัยหลักที่ทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงได้มากขึ้น ราคา แบรนด์ใหม่ ๆ ที่เข้ามาในตลาดมักจะดึงผู้คนด้วยเกมราคาที่หวือหวา แต่เอาเข้าจริงเรามองว่าเรื่องของคุณภาพมากกว่า ถ้าแบรนด์เสิร์ฟวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ราคาก็อาจจะไม่ใช่ปัจจัยสำคัญ เพราะเดี๋ยวนี้ผู้คนยอมจ่าย เลือกสิ่งที่ดีให้กับตัวเองมากกว่า

รสชาติ แน่นอนว่าถ้าไม่อร่อยก็คงไม่มีใครอยากจะเข้าไปร้านนั่งกินแน่ๆ เพราะฉะนั้นแบรนด์ร้านสุกี้ในตลาดต่างทำรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีจุดเด่นที่ต่างกัน เพื่อเป็นตัวเลือกให้กับผู้บริโภค ธุรกิจบุฟเฟต์ แต่ละแบรนด์ขายดีแค่ไหน ? เปิดกลยุทธ์ทำอย่างไรให้ขายดี มีกำไรในธุรกิจนี้ All You Can Eat อยากกินแค่ไหนก็กินไป จะกินแค่เนื้อ แต่กุ้ง หรือซดแต่น้ำซุป แต่คิดคุณในราคาเหมาจ่ายที่กำหนดไว้ตั้งแต่แรก นี่คือเสน่ห์ของบุฟเฟต์

เพราะธุรกิจบุฟเฟต์มีจุดขายที่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคส่วนใหญ่คือ “ความคุ้มค่า” และไม่ต้องคิดว่าอาหารถ้าสั่งเป็นจานเดี่ยวหรือ A La Carte ที่สั่งมากินตามชอบ เมื่อเช็กบิลออกมา จะราคาต่อบิลเกินงบ สิ่งเหล่านี้เองทำให้ธุรกิจบุฟเฟต์เติบโตอย่างต่อเนื่องทุกปี จากจำนวนและความถี่ของผู้รับประทาน รวมถึงปริมาณร้านอาหารบุฟเฟต์ที่ผุดขึ้นเป็นดอกเห็ด ทั้งบุฟเฟต์ระดับแมสไปจนถึงพรีเมียม

แต่การทำธุรกิจบุฟเฟต์ไม่ใช่ว่าจะเป็นเรื่องที่ง่ายนัก เพราะในความง่ายกับการเหมาจ่ายมีกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่ซ่อนอยู่ 1. การตั้งราคาให้ผู้บริโภครู้สึกคุ้มค่าจ่ายไม่แพงมากนัก จะเห็นได้ว่าร้านบุฟเฟต์ส่วนใหญ่จะตั้งราคาลงท้ายด้วยเลข 9 เช่น 199 บาท 299 บาท หรือแม้แต่ 999 บาท การที่ตั้งราคาลงท้ายด้วยเลข 9 เป็นการตั้งราคาเชิงจิตวิทยา ที่ทำให้ลูกค้ารู้สึกว่า จ่ายไม่แพงเท่าไรนัก เช่น บุฟเฟต์ราคา 199 บาท ลูกค้าจะรู้สึกว่าจ่ายเงินเพียงแค่หนึ่งร้อยกว่าบาทยังไม่ถึง 200 บาท และสามารถรับประทานเท่าไรก็ได้ตามกฎกติกาที่ร้านกำหนด

2.สร้างความถี่ในการรับประทานผ่านแคมเปญต่าง ๆ บุฟเฟต์บางแห่งนิยมใช้แคมเปญโปรโมชั่นเพื่อชักชวนลูกค้าเข้าไปรับประทานในร้านค้าในอัตราที่บ่อยและถี่ เพื่อสร้างรายได้และพลังในการต่อรองสั่งซื้อวัตถุดิบ เพราะยิ่งมีการสั่งซื้อล็อตใหญ่เท่าไร อำนาจในการต่อรองมีมากขึ้นตามมา

กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ

ข้อมูลด้านการตลาด (Marketing) จัดทำโดยผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีประสบการณ์ด้านข้อมูลการตลาด มากว่า 10 ปี กลยุทธ์การตลาด (Marketing Strategy) คือ กลวิธีหรือแบบแผนเพื่อช่วยให้สินค้าและบริการเป็นที่น่าสนใจในสายตาของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายและตอบสนองการใช้งานของลูกค้า

แผนการตลาด คือแผนปฏิบัติการของกลยุทธ์การตลาดในช่วงเวลาข้างหน้า (1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ปี) แผนการตลาดรวมถึง ภาพรวมเป้าหมายการตลาดและโฆษณา รายละเอียดและระยะเวลาของแผนการตลาด และตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (KPI) เป้าหมายของแผนการตลาดคือการสร้างทิศทางที่ชัดเจนให้กับธุรกิจ

Marketing Information & Strategy

แผนการตลาดที่ดีต้องสามารถปฏิบัติได้จริง ซึ่งก็หมายความว่าเราควรจะลงรายละเอียดวิธีการปฏิบัติ และทำการประเมินระยะเวลาที่จะเห็นผลด้วย ยกตัวอย่างเช่นแผนการตลาด Instagram ของคุณอาจจะรวมถึงการโพสต์รูปทุกวัน เป็นเวลา 3 เดือนเพื่อเพิ่มจำนวนคนติดตาม

พบกับเนื้อหาของการวางกลยุทธ์การตลาด ผ่านเครื่องมือ Marketing Mix 4Ps ของแบรนด์ชั้นนำในตลาด พร้อมด้วยเนื้อหาของสภาพแวดล้อมทางการตลาดพร้อมกับการมองทิศทางของโอกาสและอุปสรรค รวมตัวเลขของขนาดตลาด (Market size) ส่วนแบ่งตลาด (Market share) ส่วนประสมทางการตลาด / กลยุทธ์ทางการตลาด ( Market Mixed / 4p’s ) และแนวโน้ม ( Trend )

วิเคราะห์ กลยุทธ์การตลาด ร้านสุกี้ ร้านชาบู

กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ / Marketing Information & Strategy ,พบกับข้อมูลการตลาด (Marketing)  แผนธุรกิจ การวางกลยุทธ์การตลาด (Market Mixed / 4p’s) การแข่งขัน (Market Analysis) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ KEY SUCCESS FACTOR (KSF) โอกาส-อุปสรรค วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (PEST) มูลค่าตลาด (Market Size) ส่วนแบ่งการตลาด (Market Share)  กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ข้อมูลชุดนี้อยู่ในรูปแบบไฟล์ MS Word มีจำนวน 9 หน้า อัพเดทล่าสุด 30/12/2564 ราคา 350 บาท จัดส่งผ่านอีเมลล์ภายใน 60 นาที สนใจรายละเอียด/สั่งซื้อ คลิ๊ก https://wwwmktinfoonlinecom/indexphp/order-now/

ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ LINE ID : @marketinfo หรือคลิ๊กลิงก์ http://lineme/ti/p/@marketinfo

EBOOK แผนธุรกิจ คู่แข่งขัน วิจัย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อีบุ๊กธุรกิจการตลาด อีบุ๊คธุรกิจการตลาด วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก PEST โอกาสอุปสรรค 5forces KeySuccessFactors KSF ปัจจัยแห่งความสำเร็จ บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมูนิเคชั่นจำกัด